หลักการอ่านทำนองเสนะ

. ผู้อ่านต้องรู้จักลักษณะคำประพันธ์แต่ละชนิด    เพื่อจะได้แบ่งวรรคตอนในการอ่านและลงจังหวะได้ถูกต้องตามลักษณะคำประพันธ์

. คำที่ลงสัมผัสต้องอ่านเน้นเสียงให้ชัดเจน  ถ้าเป็นสัมผัสระหว่างวรรค  จะต้องทอดเสียงยาวกว่าธรรมดา

. พยางค์ที่ใช้เกิน  เช่น  ตำแหน่งของคำที่ควรเป็นพยางค์เดียว  แต่บรรจุคำนั้นเป็นพยางค์ต้องอ่านรวบพยางค์ให้เร็วและเน้นเสียงที่พยางค์หลัง

. เมื่ออ่านจะจบบท  ต้องทอดเสียงและจังหวะให้ช้าลงเพื่อจบบท

. อ่านให้เอื้อสัมผัส  อันจะทำให้เกิดความไพเราะ  คำบางคำต้องอ่านเอื้อสัมผัส

 

                    วิธีใช้พจนานุกรม

. การเรียงลำดับพยัญชนะ

            .๑ เรียงพยัญชนะจาก  –ฮ โดยเรียง    ฤา 

            .. พยัญชนะต้นที่เป็นอักษรควบและอักษรนำ  ถ้าจะค้นหาคำให้ดูที่พยัญชนะตัวแรกของคำเป็นหลัก

            .. คำที่ขึ้นต้นด้วยพยัญชนะตามด้วยสระ จะอยู่หลังคำที่ขึ้นต้นด้วยพยัญชนะแล้วตามด้วยพยัญชนะ

            .. คำที่ไม่มีรูปวรรณยุกต์กำกับจะอยู่ก่อนคำที่มีรูปวรรณยุกต์

            .. คำที่อยู่ในหมวดอักษรเดียวกันให้พิจารณาพยัญชนะตัวถัดไป

 

. การเรียงลำดับสระ

            .. คำที่ไม่มีรูปสระกำกับจะอยู่ก่อนคำที่มีรูปสระ

            .. รูปสระต่างๆจะเรียงลำดับ

. บัญชีอักษรย่อ

            .. อักษรย่อในวงเล็บจะบอกที่มาของคำ

            .. อักษรย่อหน้าบทนิยามจะบอกชนิดของคำตามหลักไวยากรณ์  เช่น

ก.      =  คำกิริยา

ฝ.       = คำบุพบท

.. อักษรย่อในวงเล็บหน้าบทนิยามจะบอกลักษณะของคำที่ใช้เฉพาะแห่ง

. การเรียงลำดับคำที่เป็นนามย่อย  จะจัดเรียงไว้ตามหมวดอักษร  เช่น 

            ดุก  เป็นนามย่อยของปลา  จัดเรียงไว้ในหมวดอักษร 

. ประวัติของคำ  จะบอกไว้ท้ายคำนั้นๆโดยเขียนอักษรย่อไว้ในวงเล็บ  เช่น

            กรีฑา  ()  มาจากภาษาสันสกฤต

. การอ่านออกเสียงของคำ  ในพจนานุกรมจะบอกคำอ่านไว้ในวงเล็บเหลี่ยมท้ายคำนั้นๆ  เช่น

เกษตร [ กะเสด]  . ที่ดิน  ทุ่งนา  ไร่